Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

จำนวนผู้เข้าชม 29,139,281

5 กลุ่มต้องระวัง ห้ามลดน้ำหนักแบบ IF จริงหรือ?

ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลในสื่อสังคมออนไลน์เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง5 กลุ่มต้องระวัง ห้ามลดน้ำหนักแบบ IF ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขพบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลจริง

IF มีประโยชน์กับร่างกายในหลายด้าน แต่ยังอยู่ในขั้นสัตว์ทดลอง ซึ่ง 5 กลุ่มที่ต้องระวังสำหรับการลดน้ำหนักแบบ IF คือ
1. เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี
2. หญิงตั้งครรภ์
3. หญิงให้นมบุตร เพราะจะส่งผลเสียกับสุขภาพ ทำให้เด็กและทารกขาดสารอาหารได้
4. ผู้มีโรคประจำตัว เช่น โรคกระเพาะอาหาร ผู้มีพฤติกรรมการกินผิดปกติ ควรหลีกเลี่ยง
5. ผู้หญิง หรือเด็กอ้วน ควรระวัง
สำหรับผู้ชายวัยทำงานที่ไม่มีปัญหาสุขภาพ สามารถบริหารจัดการเวลาได้ หรือผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำสามารถทำ IF ได้

อย่างไรก็ตาม การทำ IF ที่ไม่ถูกวิธีจะทำให้มีโอกาสเสี่ยงจากการขาดสารอาหาร การกินผิดเวลาอาจเสี่ยงเป็นโรคกระเพาะอาหาร สำหรับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพควรปรึกษาแพทย์ก่อน ซึ่งข้อแนะนำ คือ ควรเน้นกินอาหารครบ 5 หมู่ ในปริมาณและสัดส่วนที่เหมาะสม รวมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวัน หมั่นออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ

ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://nutrition2.anamai.moph.go.th/th/ หรือโทร 02-5904332

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด