– สังเกตพาดหัว : ข่าวปลอมส่วนใหญ่ มักใช้พาดหัวที่เรียกร้องความสนใจ ทำให้ตื่นตระหนก เกินความเป็นจริง
– สังเกต URL : เว็บไซต์ปลอม มักเปลี่ยน URL เพียงเล็กน้อยเพื่อเลียนแบบให้เข้าใจผิดว่าเป็นเว็บไซต์จริง
– สังเกตแหล่งที่มา : หากเป็นข่าวที่มาจากองค์กรแปลก ๆ ให้ตรวจสอบข่าวสารจากแหล่งอื่นเพิ่มเติม
– เนื้อหาไม่ปกติ : มักสะกดผิด ใช้ภาษาแปลก ๆ หรือวางเลย์เอาต์ไม่ปกติ
– พิจารณารูปภาพ : ใช้รูปหรือคลิปที่ไม่เกี่ยวกับเรื่องที่ลง หรือใช้คลิปจากเหตุการณ์อื่นมาอ้างว่าเป็นเรื่องเดียวกัน
– ตรวจสอบวันที่ : ลำดับเหตุการณ์ไม่สมเหตุผล หรือเปลี่ยนวันที่ของเหตุการณ์
– ตรวจสอบหลักฐาน : ข่าวที่ไม่มีการยืนยันความถูกต้อง หรือใช้ใครไม่รู้ที่ไม่น่าเชื่อถือมายืนยัน ควรตรวจสอบข้อมูลจากแหล่งที่น่าเชื่อถืออีกครั้ง
– ดูรายงานจากที่อื่น : ถ้าไม่มีรายงานข่าวจากแหล่งที่น่าเชื่อถือเลย ให้สงสัยว่าเป็นข่าวปลอม
– เป็นเรื่องตลกหรือไม่ : ดูพฤติกรรมของผู้โพสต์ เพราะบางครั้งอาจเป็นเพียงเรื่องตลกล้อเลียน เสียดสี หรือกลั่นแกล้งกัน
– ดูความจงใจ : ถ้าดูแล้วคิดว่าตั้งใจปลอม ไม่น่าเชื่อถือ ไม่ควรแชร์เด็ดขาด
จำนวนผู้เข้าชม
29,232,524
สังเกตให้ดี ก่อนเชื่อ ไม่ตกเป็นเหยื่อ “ข่าวปลอม”
หน่วยงานที่ตรวจสอบ

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ข่าวล่าสุด
กระทรวงยุติธรรม เปิดเพจเฟซบุ๊กสำหรับยื่นหลักฐานรับสิทธิเฉลี่ยทรัพย์คืน
ข่าวปลอม
การเงิน-หุ้น
22 เมษายน 2568 | 11:30 น.
ติดต่อเจ้าหน้าที่แจ้งข้อมูลธนาคารออมสิน ผ่าน Line ID @429awgij
ข่าวปลอม
นโยบายรัฐบาล-ข่าวสาร
21 เมษายน 2568 | 16:30 น.
วันที่ 11 เม.ย. ถึง 10 พ.ค. 68 เขตประเวศ ประกาศเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าระบาดชั่วคราวในพื้นที่เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร
ข่าวจริง
นโยบายรัฐบาล-ข่าวสาร
21 เมษายน 2568 | 16:00 น.
ฮั่วเซ่งเฮงเปิด ซื้อ-ขาย SET 50/100 ผ่านเพจ Gold Futures Continuous และถูกกำกับดูแลโดย ก.ล.ต.
ข่าวปลอม
การเงิน-หุ้น
21 เมษายน 2568 | 15:00 น.