Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

จำนวนผู้เข้าชม 29,028,862

ข่าวปลอม อย่าแชร์! กินอาหารที่เป็นด่างสามารถฆ่าเชื้อโควิด 19 ได้

ตามที่มีการโพสต์และส่งต่อข้อความในสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่องกินอาหารที่เป็นด่างสามารถฆ่าเชื้อโควิด 19 ได้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ

จากกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่า การกินอาหารที่เป็นด่าง เช่น มะนาว อะโวคาโด กระเทียม มะม่วง สับปะรด ส้ม สามารถเอาชนะไวรัสโควิด 19 ได้ เนื่องจากมีค่า pH มากกว่าค่า pH ในไวรัส ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า ยังไม่มีข้อพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ว่า อาหารจำพวกดังกล่าวมีผลช่วยรักษาโควิด 19 ได้

website stamp

ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่งหรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ www.moph.go.th หรือโทร. 1422

บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ไม่เป็นความจริง เนื่องจากยังไม่มีข้อพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ว่า อาหารจำพวกดังกล่าวมีผลช่วยรักษาโควิด 19 ได้

  หน่วยงานที่ตรวจสอบ

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด